แผนปฏิบัติการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2559

ยุทธศาสตร์ที่ 2 อนุรักษ์ และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ

2.2 แผนปฏิบัติการลดภัยคุกคามและใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด

1 แนวทางในการผนวกเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพในมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

2 จำนวนเครื่องมือ กลไก กฎระเบียบในการป้องกันผลกระทบต่อชนิดพันธุ์และถิ่นที่อยู่อาศัยจากภาวะมลพิษ การประมงเกินขีดจำกัด โครงการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
2.2.1.1 ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการเพาะปลูกพืชเกษตร และการเลี้ยงปศุสัตว์ โดยคำนึงถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งเสริมให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติ 1. กำหนดมาตรฐานการเพาะปลูกพืชเกษตร และการเลี้ยงปศุสัตว์ โดยคำนึงถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และส่งเสริมให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติ 1. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2. จัดสรรที่ดินทำกินไม่ให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
2.2.1.2 ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยคำนึงถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและส่งเสริมให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติ 1. กำหนดมาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยคำนึงถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและส่งเสริมให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติ 1. กิจกรรมตรวจรับการรับรองมาตรฐานการจัดการฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
2. การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ โดยการตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำอินทรีย์ตาม ISO/IEC ๑๗๐๖๕ จำนวน ๖๐ ฟาร์ม และอบรมหลักสูตรการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ๒๗๙ ราย
3. การกำหนดมาตรฐานเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยคำนึงถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและส่งเสริมให้เกษตรกรนำไปปฏิบัติ
2.2.1.3 ใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชอย่างยั่งยืน รวมถึงการควบคุมเพื่อให้ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวจากพืชป่ามีความยั่งยืน 1. จัดทำทะเบียน ติดตาม และตรวจสอบผลผลิตที่ได้จากพืชป่า
2. จัดทำวิธีการและข้อเสนอแนะการเก็บผลผลิตจากป่าโดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ
3. เสริมสร้างแรงจูงใจให้มีการใช้ประโยชน์จากพืชป่าอย่างยั่งยืนเพื่อป้องกันการเก็บเกี่ยวเกินศักยภาพ 1. หนุนเสริมวิสาหกิจชุมชน สมุนไพรอินทรีย์ในป่าตะวันตก
4. จัดทำมาตรฐานรับรองผลิตภัณฑ์จากพืชที่ได้มาจากแหล่งที่มีการจัดการอย่างยั่งยืน
5. จัดทำมาตรการส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์จากพืช ซึ่งได้มาจากแหล่งที่มีการจัดการอย่างยั่งยืน
2.2.1.4 อนุรักษ์และคุ้มครองพันธุ์พืชป่าไม่ให้สูญพันธุ์เนื่องจากการค้าระหว่างประเทศ 1. ส่งเสริมการบังคับใช้และดำเนินการตามกฎหมายภายใต้อนุสัญญาไซเตสอย่างเคร่งครัด 1. โครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน โดยดำเนินการมอบรางวัลให้ป่าชุมชนที่มีการบริหารจัดการป่าที่ดี มีการพึงพิงป่าอย่างยั่งยืน ปัจจุบันมอบรางวัลแล้ว 1,253 แห่ง
2. สนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายเฝ้าระวังการค้าพืชป่าที่ผิดกฎหมาย
3. ติดตาม ตรวจสอบสถานภาพชนิดพันธุ์พืชป่าที่มีการค้าขายระหว่างประเทศเพื่อจัดทำมาตรการคุ้มครอง
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
2.2.2.1 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่ง และระบบนิเวศเปราะบางอื่น อย่างผสมผสานและบูรณาการตามโปรแกรมงานของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ 1. วิเคราะห์ศักยภาพการรองรับผลกระทบในด้านต่างๆ จากกิจกรรมมนุษย์ของระบบนิเวศเปราะบาง เพื่อกำหนดมาตรการรักษาและควบคุมดูแลผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ - ความสามารถในการกลับสู่สภาพเดิมของแนวปะการังในน่านน้ำไทย - ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคน และราทะเล
2. ประเมินพื้นที่ที่เหมาะสมในการฟื้นฟูแนวปะการังที่ได้รับความเสียหายจากปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
3. ศึกษาผลกระทบต่อระบบนิเวศเปราะบางจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเตรียมมาตรการเพื่อรับมือในอนาคต 1. โครงการวิจัยการศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อการผลิตพืชไร่ และพืชทดแทนพลังงาน ศึกษาด้านผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงทาง การเกษตรที่เกิดขึ้น เพื่อ เป็นพื้นฐานไปสู่การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Adaptation) ศึกษาวิธีการ Adaptation ต่างๆ ที่ทำได้ทางการเกษตร และศึกษาวิธีการหรือ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช ลดการใช้สารเคมี บรรเทาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ หรือ Mitigation
2. โครงการวิจัยการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การปรับตัว และผลกระทบต่อระบบ การผลิตพืชและการผลิตพืชเศรษฐกิจในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิเคราะห์ความเสี่ยงและหาพื้นที่ อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของจังหวัดต่างๆ ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 10 จังหวัด ได้แก่ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ เลย สกลนคร มุกดาหาร นครพนม หนองบัวลำภู หนองคาย และอุดรธานี
4. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ระบบนิเวศทะเล ชายฝั่งและเกาะ และระบบนิเวศเปราะบางอื่น 1. โครงการวิจัยการสร้างธนาคารคาร์บอนในพื้นที่ปลูกพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน การสร้าง ธนาคารคาร์บอนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จ.นครสวรรค์ และลพบุรี อ้อย จ.ขอนแก่น มัน สำปะหลัง จ.ระยอง ถั่วเหลืองในสภาพนาและไร่ โดยศึกษาการจัดการปุ๋ยและระบบปลูกพืช อย่างต่อเนื่องระยะยาวต่อการกักเก็บคาร์บอนไว้ในดินใน ระบบการผลิตพืช
2.2.2.2 ติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศเปราะบาง 1. จัดทำแนวทางสำหรับผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาทบทวน ติดตามตรวจสอบ และวางมาตรการลดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่างๆ จากโครงการพัฒนา
2. โครงการแปลงศึกษาถาวรและโครงสร้างสังคมพืชในสวนบ้านร่มเกล้าในพระราชดำริ จ.พิษณุโลก
3. ติดตามตรวจสอบสถานภาพถิ่นอาศัยตามธรรมชาตินอกพื้นที่คุ้มครองทางทะเล ชายฝั่ง และเกาะ ที่ถูกคุกคามหรือถูกแบ่งแยก
4. ติดตามตรวจสอบและประเมินสถานการณ์สูญเสียระบบนิเวศทะเล ชายฝั่งและเกาะ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยคุกคาม
2.2.2.3 ควบคุมกิจกรรมการประมงไม่ให้กระทบเสียหายรุนแรงต่อชนิดพันธุ์สัตว์น้ำที่ถูกคุกคาม และแหล่งที่อยู่อาศัย 1. ควบคุมกิจกรรมการประมงไม่ให้กระทบเสียหายรุนแรงต่อชนิดพันธุ์สัตว์น้ำที่ถูกคุกคาม และแหล่งที่อยู่อาศัย - โครงการเฝ้าระวัง ตรวจติดตามและควบคุมการทำประมงพื้นที่ทั่วไปครอบคลุมพื้นที่ 23 จังหวัดชายทะเล - โครงการเฝ้าระวัง ตรวจติดตามและควบคุมการทำประมงพื้นที่แหล่งวางไข่และเลี้ยงตัวในวัยอ่อนครอบคลุมพื้นที่ 15 จังหวัดชายทะเล - โครงการเสริมสร้างการจัดการชุมชนประมงต้นแบบ - โครงการยุวและเยาวชนประมง - โครงการการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายเฝ้าระวังการทำประมง 1. ตรวจตราการทำประมงของของเรือประมง เพื่อป้องกันและปราบปรามรองรับแผนปฏิบัติการแก้ไข ปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย (IUU)
2. การเฝ้าระวัง ตรวจติดตามและควบคุมการทำประมงพื้นที่ทั่วไปครอบคลุมพื้นที่ ๒๓ จังหวัด ชายทะเล
3. โครงการยุวและเยาวชนประมง
2. ทบทวนช่องว่างของกฎหมาย นโยบายที่เอื้อต่อการประมงอย่างไม่ยั่งยืน
3. ศึกษาเส้นทางและผลกระทบของชนิดพันธุ์ที่มีการเคลื่อนย้ายข้ามถิ่นภายในประเทศ
4. ส่งเสริมการจัดการสัตว์น้ำเพื่อการประมงตามข้อถือปฏิบัติเพื่อการประมงอย่างรับผิดชอบ (code of conduct for responsible fisheries)
5. วิเคราะห์แนวโน้มปริมาณสัตว์น้ำต่อกำลังการจับและศักยภาพการจับสัตว์น้ำ
6. กำหนดมาตรการแก้ไขผลกระทบการเก็บเกี่ยวสัตว์น้ำต่อปริมาณสัตว์น้ำสำรองและระบบนิเวศที่เป็นแหล่งวางไข่และอนุบาลตัวอ่อน
2.2.2.4 วางกลไกควบคุมและติดตามตรวจสอบผลกระทบมลพิษต่อระบบนิเวศ 1. จัดทำและรักษาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 อย่างต่อเนื่องสำหรับกิจกรรมหลักประเภทโรงไฟฟ้า เขื่อน เหมือง และสถานีไฟฟ้าแรงสูง
2. จัดให้มีระบบหรือช่องทางการมีส่วนร่วมของชุมชน ประชาชนในการติดตามตรวจสอบผลกระทบของมลพิษ - แผนงานการสร้างเครือข่ายติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมโรงไฟฟ้าโดยชุมชนท้องถิ่น (โรงไฟฟ้าจะนะ, โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ,โรงไฟฟ้าวังน้อย)
3. ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำทะเล ปริมาณมวลสารในทะเลและปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี (red tide)
4. ติดตามและประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อม (คุณภาพแหล่งน้ำผิวดิน น้ำทะเล และผลกระทบจากกากของเสียอันตราย)
5. ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำและสภาพแวดล้อมในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาสาเหตุของมลพิษและผลกระทบต่อระบบนิเวศ
6. กำหนดนโยบายและมาตรการบริหารจัดการมลพิษ
2.2.2.5 ทบทวนหลักเกณฑ์ กฎระเบียบ กฎหมายเพื่อวางรูปแบบ/กรอบแนวทางการหยุดยั้งการทำลายระบบนิเวศประเภทต่างๆ 1. ศึกษาเพื่อทบทวน ปรับปรุงและยกระดับกฎระเบียบ เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติว่าด้วยการวิเคราะห์ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพในกรณีระบบนิเวศเปราะบาง (เกาะ,ป่าต้นน้ำ) (Intensive biodiversity impact assessment) เข้าสู่นโยบายและกฎหมายการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1. การพิจารณารายงาน IEE/EIA ในพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์
2. ตรวจติดตามและควบคุมการทำประมง 1,849 ครั้ง จับกุมผู้กระทำผิด พรก.ประมงจำนวน 676 คดี 1,162 ราย ออกมาตรการจัดการทรัพยากรประมงได้จำนวน 18 เรื่อง ออกใบอนุญาตทำการ ประมง 45,621 ฉบับ และให้บริการด้านกฎหมาย 689 ครั้ง
2. ศึกษาจัดทำกฎระเบียบที่แก้ไขการใช้กฎหมายที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศธรรมชาติไปเป็นพื้นที่ใช้ประโยชน์
2.2.2.6 ส่งเสริมกระบวนการชดใช้และเยียวยากรณีการพัฒนาก่อให้เกิดผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ส่งเสริมอาชีพทดแทนอาชีพที่เกี่ยวกับการทำลายหรือก่อให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ส่งเสริมอาชีพทดแทนอาชีพที่เกี่ยวกับการทำลายหรือก่อให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ศึกษาเพื่อผนวกมาตรการชดใช้และเยียวยาผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพไว้ในกฎระเบียบ
2.2.2.7 จัดหาเงินทุนสนับสนุนการจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือระบบนิเวศที่สำคัญ 1. จัดทำมาตรการ/กลไกทางการเงินหรือเงินอุดหนุนจากผู้ได้รับประโยชน์ไปยังผู้รักษาทรัพยากร
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
2.2.3.1 ส่งเสริมให้มีการสำรวจโรคติดต่อที่มีความสำคัญระหว่างสัตว์ป่าและปศุสัตว์ 1. สำรวจโรคปากเท้าเปื่อยและโรคติดต่อสำคัญ ในกระทิง ณ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาแผงม้า
2. สำรวจโรคติดต่อที่สำคัญในหมูป่า
2.2.3.2 ส่งเสริมให้มีการสำรวจโรคและสร้างมาตรการควบคุมป้องกันโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน 1. สำรวจโรคในสัตว์ป่ากลุ่มชะมด-อีเห็น
2. สำรวจวัณโรคในสัตว์เลี้ยงและควาญช้าง
2.2.3.3 ป้องกันการเกิดโรคระบาด 1. แก้ไขปัญหาการเกิดโรคระบาดในกุ้ง
2.2.3.4 การเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่และเชื้อดื้อยา 1. โครงการสำรวจและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์
2. โครงการจัดตั้งธนาคารจุลินทรีย์ทางสัตว์
3. ป้องกันและควบคุมโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ธรรมชาติ 1. กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ธรรมชาติ
2. สำรวจ และศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของศัตรูพืชสำคัญที่คุกคามระบบนิเวศเกษตร
3. เฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ในสัตว์ป่าและสัตว์ต่างถิ่นอย่างต่อเนื่อง
4. กิจกรรมบริหารจัดการและควบคุมการทำประมง
4. โครงการสำรวจและศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของจุลินทรีย์ก่อโรคในปศุสัตว์
แนวทางปฏิบัติ แผนงาน/โครงการ ผลการดำเนินงาน
2.2.4.1 พัฒนาและส่งเสริมให้มีการดำเนินการตามวิธีการปฏิบัติที่ดีในการผลิตและบริโภคอย่างยั่งยืนเพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหาร สุขภาพ และความเข้มแข็งของชุมชน เช่น ส่งเสริมกิจกรรมเกตรในชุมชนเมืองตามหลักแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สารสกัดทางชีวภาพ และเกษตรอินทรีย์แทนการใช้สารเคมี 1. ส่งเสริมให้มีการเพาะขยายพันธุ์เทียมพืชที่ใกล้สูญพันธุ์เพื่อการค้าระหว่างประเทศ
2. แผนงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตขยายและการใช้ประโยชน์ของ ชีวภัณฑ์สู่เชิงพาณิชย์ อยู่ระหว่างดำเนินการ คือ การวิจัยสำรวจและศึกษาศักยภาพชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืชทางการเกษตร การวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตขยายและการใช้ชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ และการวิจัยการผสมผสานเทคโนโลยีการใช้ชีวภัณฑ์เพื่อควบคุมศัตรูพืช
2. เผยแพร่องค์ความรู้การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนผลิตปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐานปลอดภัยและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3. ส่งเสริมการขยายพื้นที่อนุรักษ์สัตว์น้ำเพื่อการประมงทะเลพื้นบ้าน และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
4. สร้างองค์ความรู้ให้กับเกษตรกรโดย การถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง และถ่ายทอดเทคโนโลยีสมัยใหม่ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์เพื่อควบคุมศัตรูพืช
2. โครงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเบื้องต้น โดยร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าอบรมมีความตระหนักถึงการ อนุรักษ์พันธุ์พืชในท้องถิ่น
3. การอนุรักษ์ รวบรวมและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากพืชอาหารในท้องถิ่นภาคกลางตอนบน โดย การรวบรวมพืชสมุนไพร จำนวน 30 ชนิด และรวบรวมลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของสมุนไพร
4. เครื่องจักสานไม้ไผ่: ภูมิปัญญาการผลิตเครื่องจักสานแบบดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การศึกษารวบรวมองค์ความรู้และแนวทางพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนแบบมีส่วนร่วม เพื่อใช้ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สร้างมูลค่าเพิ่ม และการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงพาณิชย์
5. สนับสนุนการจัดสัมมนาให้ความรู้แก่ชุมชน
6. โครงการการพัฒนาหัวเชื้อเห็ดเผาะเพื่อการเพาะเลี้ยงอย่างยั่งยืน อยู่ในระหว่างการพัฒนาหัวเชื้อเห็ดเผาะที่เจริญได้ดีบนวัสดุเพาะที่สามารถนำไปประยุกต์ในการปลูกเชื้อเห็ดเผาะ
2.2.4.2 สนับสนุนให้สถานที่ราชการ สถานศึกษาและศาสนสถาน เป็นพื้นที่นำร่องกิจกรรมการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น ศูนย์รวบรวมพันธุ์ไม้พื้นถิ่น ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม พื้นที่สีเขียวในอาคาร เป็นต้น 1. ส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่ 1. เกณฑ์การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ประเภทถ้ำ อยู่ระหว่างนำเสนอ กก.วล. พิจารณาให้ความเห็นชอบและนำเสนอ ครม. เพื่อทราบ ในขั้นตอนต่อไป
2. โครงการต่างๆภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากจังหวัด กลุ่มจังหวัดและกระทรวงทรัพยากรฯ
3. เครื่องจักสานไม้ไผ่ : ภูมิปัญญาการผลิตเครื่องจักสานแบบดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทโส้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
2.2.4.4 สนับสนุนให้มีศูนย์รวบรวมองค์ความรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้และจัดแสดงการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน ภูมิปัญญาวัฒนธรรมท้องถิ่น งานวิจัยชุมชน ทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค จังหวัด และระดับท้องถิ่น 1. โครงการศูนย์รวบรวมองค์ความรู้และจัดแสดงการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การพัฒนาวิธีการเก็บรักษาที่เหมาะสมสำหรับจุลินทรีย์เพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ระยะยาว
2. สนับสนุนศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนให้มีความพร้อมในการเป็นแหล่งเรียนรู้ 1. จัดทำแปลงสาธิต ทดลองขยายพันธุ์พืช เพื่อแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยจัดทำแปลงสาธิตชะครามพื้นที่ 20 ไร่
2. โครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน
3. ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยแวดล้อมต่อผลผลิตเห็ดระโงกที่เจริญร่วมกับไม้ยางนา
3. สร้างศูนย์พัฒนาการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนของชุมชน 1. ศูนย์เรียนรู้การใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. แผนงานวิจัยอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์อย่างยั่งยืน อยู่ระหว่างดำเนินการ ๒ การวิจัย คือ การวิจัยการอนุรักษ์จุลินทรีย์ทางการเกษตรและการใช้ประโยชน์ และการวิจัยการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์เชิงพาณิชย์
3. ปัจจัยแวดล้อมและการเพิ่มผลผลิตของเห็ดระโงกในพื้นที่ศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ
4. โครงการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.2.4.3 ส่งเสริมการพัฒนาท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น โดยคำนึงถึงความสามารถในการให้บริการของระบบนิเวศ และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 1. โครงการแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
2. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้ประกอบการท่องเที่ยว รวมถึงส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 1. โครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชนตามแผนพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ตามแนวพระราชดำริ (ปิดทองหลังพระ)
3. ส่งเสริมการพัฒนาศึกษาวิจัยและส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาและสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน 1. โครงการวิจัยการอนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ดำเนินการรวบรวมพันธุกรรมพืชไม้ดอกไม้ประดับ ในสภาพแปลง
2. การศึกษาการอยู่ร่วมกันระหว่างต้นยางนากับเชื้อเห็ดระโงก และเห็ดเผาะ ภายหลังการปลูกเชื้อและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยวิธีทางชีวโมเลกุล
4. จัดทำและเสริมสร้างสมรรถนะในการดำเนินการตามกลไกการเฝ้าระวังและติดตามผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในระดับท้องถิ่น 1. โครงการวิจัยการประเมินคุณค่าและการใช้ประโยชน์เชื้อพันธุกรรมพืช ดำเนินการขยายพันธุ์กวาวเครือขาวในสภาพปลอดเชื้อให้ได้จำนวน 400 ต้น เพื่อนำออกสู่โรงเรือน และปลูกถั่วเหลืองจำนวน 100 สายพันธุ์ นำมาลดความชื้น และอยู่ระหว่างการทดลองหาค่าสารไอโซฟลาโวนและ การวัดค่า NIR